วันพฤหัสบดีที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2556

Monday 24 June 2013




24 June 2013


Science Experiences Management for Early Childhood

EAED3207 Time from 14.10 to 17.30pm Group Study 102 


       อาจารย์ให้แบ่งกลุ่ม 6 คน เพื่อที่จะทำกิจกรรม โดยอาจารย์จะแจกเนื้อหาให้แต่กลุ่มอ่าน และรับผิดชอบคนละหัวข้อ 
กลุ่มดิฉันได้หวข้อที่ 5 เรื่อง กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  คือ  การค้นคว้าความรู้อย่างมีระบบ
ผลผลิต คือ  สิ่งที่ปรากรณืภายหลังหรือค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการผลผลิตมีส่วนเกี่ยวข้องเสมอ  เพราะ  ครูเตรียมทำกิจกรรม  ต้องเฝ้าสังเกต  และครูต้องดูผลงานเด็ก

ตัวอย่าง  การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์เป็นกระบวนการมากกว่าผลผลิต
น้ำส้ม  เกี่ยวกับผลผลิต  ผลผลิต คือ น้ำส้มที่คั่นแล้ว
การที่ทำให้เด็กต้องศึกษา คือ
  • สอบถาม
  • จดหาส่วนผสม
  • จัดหาเครื่องมืออุปกรณ์ 
  • ผสมน้ำส้ม
  • เทแก้ว
          ในการทำกิจกรรมครูไม่ควรแนะนำอะไร  ถ้าเด็กไม่ถาม ควรให้เด็กอธิบายผลงานของเขาเอง  แล้วชิมรสชาติ ถ้ารสชาติเปลี่ยนแปลว่าเด็กใส่ส่วนผสมผิด








ต่อไปนี้คือหัวข้อที่เหลือจากที่สรุปจากใบงานที่อาจารย์แจก

แนวพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์  มี 5 ประการ
  • การเปลี่ยนแปลง
  • ความแตกต่าง
  • การปรับตัว
  • การพึ่งพาอาศัย
  • ความสมดุล
สิ่งเหล่านี้ทำให้ครูเข้าใจการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้สอดคล้องตามธรรมชาติมี 5 ขั้นตอน
  1. กำหนด
  2. ตั้งสมมติฐาน
  3. ลงมือทดลองหรือรวบรวมแก้ปญหา
  4. วิเคราะห์ข้อมูล
  5. สรุปนำไปใช้
 และมี 4 ขั้นตอน
    1. กำหนด
    2. ตั้งสมมติฐาน
    3. ลงมือทดลองหรือรวบรวมแก้ปญหา
    4. สรุปนำไปใช้
การเรียนรู้เกิดจากเส้นใยเชื่อมกัน เด็กเกิดการคิดเพื่อให้เส้นใยประสาทเชื่อมกัน
เปรียบเสมือน กองบัญชาร่างกาย ------> คิดรู้สึก

 ความหมาย จาการสังเกตค้นคว้า ขัดเป็นระเบียบหรือวิชาที่ค้นคว้าจากหลักฐานและเหตุผล
Dr.Arther A.Carin ผ่านการทดสอบแล้ว  กล่าวว่า เรื่องธรรมชาติตัวความรู้และกระบวนการมีระบบนำมาปรับปรุงชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์

พัฒนาสติปัญญา

          คือ ความเจริญงอกงามตามความคิด  พัฒนาจากปฏิสัมพันธ์  ตั้งแต่เกิดทำให้รู้จักตาน
กระบวนการปฏิสมพันธ์มี 2 แบบ คือ
  •  ดูดซับ
  • ปรับโครงสร้าง


หลังจากที่ได้ศึกษาจากใบความรู้เสร็จแล้ว เพื่อนได้เปิด VDO เรื่องสนุกกับอากาศมหัศจรรย์




สรุปจากที่ได้รับชม VDO เรื่องสนุกกับอากาศมหัศจรรย์


-  เอากระดาษปิดปากแก้ว แล้วคว่ำแก้วลง กระดาษจะไม่เปียกเพราะมีอากาศแทรกอยู่

-  นำน้ำเทลงในขวดได้โดยไม่มีดินน้ำมันปิดอยู่ได้ เพราะ ในขวดมีอากาศ แต่ถ้านำดินน้ำมันปิดปากขวดเชื่อมกัน น้ำจะไหลลงช้า เพราะ อากาศออกจากขวดไม่ได้


-  การช่างน้ำหนักอากาศ
    มีน้ำหนักที่ต่างกัน คือ น้ำหนักอากาศมีเหมือนกัน หนัก,เบา ขึ้นอยู่กับอากาศบริเวณนั้น



-  นำเทียนไข่มาจ่อแก้วที่ชั่งไว้
    อากาศภายในถ้วยทางซ้ายร้อนขึ้นทำให้เเก้วสูงขึ้น


-  การผลิตบอลลูนบนท้องฟ้า
    อยากให้ลุกบอลสูงก็เร่งไฟให้แรงกว่าเดิม
-  ขวดโหล 2 ใบ
    แช่ร้อน,แช่เย็น
คุณสมบัติของอากาศ
        แรงดันอากาศ คือ แรงที่อากาศกดลงบนพื้นผิวใส่น่ำในแก้วแล้วคว่ำไม่หก เจาะ 1 รูก็ไม่ไหล ต้องเจาะ 2 รู ฝั่งตรงข้าม เพื่อให้อากาศเข้าไปน้ำถึงจะไหล

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น